แนวคิดเทคโนโลยีแห่งตัวตนกับสังคมสงเคราะห์โรงเรียน

Technologies of the Self and School Social Work

เริ่มต้น 5(4 เรตติ้ง) 210 ผู้เรียนที่ลงทะเบียน Thai
สร้างโดย SuperAdmin swpc.online
อัพเดทล่าสุด Tue, 24-Sep-2024
1.หลักการและเหตุผล

   แนวคิดเทคโนโลยีแห่งตัวตน (Technologies of the self) เป็นแนวคิดที่มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault) นักปรัชญาหลังทันสมัย (Postmodernist) ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้พัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกใน การสัมมนา เมื่อปี ค.ศ. 1982 จุดเด่นของแนวคิดนี้คือการวิเคราะห์ความสลับซับซ้อนของชีวิตมนุษย์ในยุคหลังทันสมัย2 กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2561, น. 30-58) ทำให้เข้าใจร่างกาย ความเป็นตัวตนและวิธีการกำหนดสร้างอัตลักษณ์ตัวตนของมนุษย์ด้วยอำนาจของตนเอง แนวคิดนี้มีความสอดคล้องกับพื้นฐานปรัชญาแนวคิดสังคมสงเคราะห์ที่เน้นการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ แนวคิดเทคโนโลยีแห่งตัวตนได้มีนักวิชาการด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์นำมาใช้ ปรากฏในวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกในสังคมไทย ซึ่งมีความสอดคล้องกับนักสังคมสงเคราะห์โรงเรียนของต่างประเทศที่ใช้ในแนวคิดนี้ในบริบทงานสังคมสงเคราะห์โรงเรียน (School Social Work) ที่มีนัยต่อการพัฒนาสังคมสงเคราะห์โรงเรียนในประเทศไทยอย่างสำคัญ


2.วัตถุประสงค์

-


3.คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม/กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย


4.วิทยากรบรรยาย
ศาสตราจารย์ ดร.กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์

5.ระยะเวลาอบรม
ระยะเวลาการเรียนรู้ รวม 2 ชั่วโมง

6.หัวข้อบรรยาย

1. บทนำ

2. จุดกำเนิดของเทคโนโลยีแห่งตัวตน

3. เทคโนโลยีแห่งตัวตนสะท้อนอำนาจในเชิงการกระทำการของมนุษย์

4. แนวคิดเทคโนโลยีแห่งตัวตนในบริบทสังคมสงเคราะห์นานาชาติ

5. นักวิชาการไทยกับแนวคิดเทคโนโลยีแห่งตัวตน

6. บทวิเคราะห์

7. สรุป

8. รายการอ้างอิง


7.วิธีบรรยาย
บทความ

8.วิธีการประเมินผลและเกณฑ์การวัดผล
ทำแบบทดสอบ ผ่าน 70%

9.สิ่งที่ได้รับหลังการอบรม
ได้ความรู้จากบทความ

หลักสูตรสำหรับรายวิชานี้
2 บทเรียน 00:00:00 ชั่วโมง
บทเรียน
2 บทเรียน 00:00:00 ชั่วโมง
  • บทเรียน
    .
  • แบบทดสอบ
    00:00:00
เกี่ยวกับผู้สอน

SuperAdmin swpc.online

38 รีวิวส์ | 657 ผู้เรียน | 12 หลักสูตร
ความคิดเห็นของผู้เรียน
5
4 รีวิวส์
  • (0)
  • (0)
  • (0)
  • (0)
  • (4)

รีวิวส์

  • นิภาพร คำปันศักดิ์
  • มนธิภา ยิ้มย่อง
  • ฬุฎี เตชะเทพประวิทย์
  • ภูรินทร์ศรา วาปีโส
ฟรี
รวม:
  • 00:00:00 ชั่วโมง วิดีโอ
  • 2 บทเรียน